ThaiCERT กฎหมาย รายงานประจำปี 1212 OCC Standard & Certification เอกสารเผยแพร่ IFBL ปฏิทินกิจกรรม OUR SERVICES บริการของเรา + view all บริการดิจิทัลและโครงสร้าง e-Documentใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์กฎ/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง คุ้มครองผู้บริโภคออนไลน์ OCC 1212 ไทยเซิร์ต การประสานงานเพื่อตอบสนองและจัดการกับเหตุการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร์ ข้อเสนอแนะมาตรฐานและการรับรอง การรับรองระบบสารสนเทศของผู้ให้บริการ e-Tax Invoice & e-Receiptการรับรองระบบพิมพ์ออก (Print out)ข้อเสนอแนะมาตรฐาน (ETDA Recommendation) อื่นๆ อื่นๆ อินเทอร์เน็ตเพื่อชีวิตที่ดีกว่า Internet for Better Life (IFBL) KNOWLEDGE SHARING คลังความรู้ + view all STARTUP กับหนทางสู่การเป็น Unicorn สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA (เอ็ตด้า) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จะพาทุกคนไปรู้จักธุรกิจสตาร์ตอัปให้มากขึ้น รวมถึงข้อมูลหน่วยงานที่พร้อมหนุนสตาร์ตอัปไทยที่มีฝีมือด้านต่าง ๆ ทำคอนเทนต์ออนไลน์ให้สุดปัง ตรงใจฟอลโลเวอร์อย่างแท้จริง บ่อยครั้งที่คนครีเอตคอนเทนต์มักเกิดคำถามว่า ทำไมคอนเทนต์ที่ปล่อยออกไปถึงได้เสียงตอบรับค่อนข้างน้อย ลองมาหาคำตอบกับกรณีศึกษา ของ Nas Daily กัน ปฏิทินกิจกรรม EVENT CALENDAR + view all ETDA NEWS + view all 15 ม.ค. 64 คธอ. เปิดข้อกำหนดใช้ e-Meeting อย่างไรให้มั่นคงปลอดภัย น่าเชื่อถือ รองรับ Work from Home ในช่วง COVID-19 ระลอกใหม่ ประธาน คธอ. เปิดมาตรการเพื่อความมั่นคงปลอดภัยสำหรับ e-Meeting 7 กระบวนการ ภายใต้ พ.ร.ก. การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เตือนหน่วยงานรัฐหากมีการประชุมลับต้องมี มาตรการควบคุมสิทธิการเข้าถึงข้อมูลของผู้เข้าประชุม และต้องใช้ระบบควบคุมการประชุมที่ติดตั้งและให้บริการในประเทศเท่านั้น ชวนตรวจสอบรายชื่อผู้ให้บริการที่ได้รับ การรับรองทางทุกช่องทางของ ETDA 24 ธ.ค. 63 7 หน่วย นำร่องเชื่อมโยงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ก่อนขยายสู่ทุกหน่วยงานภาครัฐ มุ่งสู่รัฐบาลดิจิทัล ความร่วมมือสู่การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นโครงสร้างพื้นฐานในการพัฒนาลักษณะนำร่อง เพื่อต่อยอดไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลต่อไป 21 ธ.ค. 63 สตง. จับมือ ETDA - สวทช. จัดงาน “ปี 64 ถึงทีบอกลากระดาษ” ร่วมพลิกโฉมการตรวจสอบเอกสารการเงินภาครัฐจากกระดาษสู่ดิจิทัล เริ่มนำร่องใน สวทช. ก่อนขยายผลไปยังหน่วยรัฐอื่น ๆ ศัพท์ความรู้ คำที่ถูกค้นหามากที่สุด APSC (ASEAN Political-Security Community) APSC ย่อมาจาก ASEAN Political-Security Community คือ แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 608.8 ล้านคน (ข้อมูล ปี พ.ศ. 2554) อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามในปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทำให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขตการค้าเสรีอาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกำลังก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน แหล่งข้อมูลอ้างอิง : www.asean.org : http://www.imf.org/external/datamapper/index.php : EC.Europa.eu, European Union Relations with ASEAN : http://www.mfa.go.th/asean e-Commerce e-Commerce (Electronic Commerce) คือ อีคอมเมิร์ซ, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการทำธุรกรรมซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการบนอินเทอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันเป็นสื่อในการนำเสนอสินค้าและบริการต่าง ๆ รวมถึงการติดต่อกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้ผู้เข้าใช้บริการจากทุกที่ทุกประเทศ หรือทุกมุมโลกสามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอด 24 ชั่วโมง [1] e-Commerce เป็นส่วนหนึ่งของ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) ที่ขอบเขตกว้างกว่า โดยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ธุรกรรมทางออนไลน์ หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่าง ๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น [2] ที่มา: [1] สวทช. [2] ICT Law Center PARTNERS + view all INTERNAL + view all